|
|
|
ชื่อ-นามสกุล |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ Asst. Prof. Dr. Sukunyasopee Chaiklam |
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
0-5526-7088 |
อีเมล์: sukunyasopee.c@psru.ac.th |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
ศศ.ด (คติชนวิทยา) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2560 |
2 |
ศศ.ม. (ภาษาไทย) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2549 |
3 |
ศศ.บ. (ภาษาไทย) |
ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม |
2544 |
|
|
|
|
|
ภาษาไทย, ด้านศิลปะและวัฒนธรรม, นิทานพื้นบ้าน |
|
|
|
|
ตำนานพื้นบ้าน ศิลปวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ไทย, คติชนวิทยา |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
ภัชญาภรณ์ จุ่มไฝ, ธัญทิพย์ จันพรหมมา, สุกัญญา กาหลง และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (2567). บทบาทหน้าที่ของประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ วัดพระธาตุศรีจอมทอง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารอักษราพิบูล. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2567. หน้า 37 – 46. |
|
|
อ้างอิง: |
พัชราวดี คงสน, สุรีรัตน์ จงสวัสดิ์, ธนากรณ์ ภูทวี และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๖). อุปกิเลส ๑๖ ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม. วารสารอักษราพิบูล. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม – ธันวาคม ๒๕๖๖. หน้า ๒๙ – ๔๔. |
|
|
อ้างอิง: |
สุชาดา เจียพงษ์, สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ, ปฐมพงษ์ สุขเล็ก, เมศิณี ภัทรมุทธา และรัตนาวดี ปาแปง. (๒๕๖๖). อัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมบ้านชมพูเหนือ อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลกกับการประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์. ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๖) หน้า ๑ – ๒๓. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๖). อวตาร : การผจญภัยของวีรบุรุษ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ ๔๒ ฉบับที่ ๕ กันยายน – ตุลาคม ๒๕๖๖. หน้า ๘๒๓ – ๘๓๕. |
|
|
อ้างอิง: |
ณริศรา พฤกษะวัน และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๖๖๕). ผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายด้วยสื่อวีดิทัศน์เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม. วารสารอักษราพิบูล. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม – ธันวาคม ๒๕๖๕. หน้า ๘๑ – ๙๗. |
|
|
อ้างอิง: |
ณริศรา พฤกษะวัน และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๖๖๕). ผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายด้วยสื่อวีดิทัศน์เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม. วารสารอักษราพิบูล. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม – ธันวาคม ๒๕๖๕. หน้า ๘๑ – ๙๗. |
|
|
อ้างอิง: |
พรชิตา ประเสริฐดี และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๔). การผจญภัยของรายาและมังกรตัวสุดท้ายตามแนวคิดของคริสโตเฟอร์ โวกเลอร์. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์รำไพพรรณี. ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๒. กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔. หน้า ๓๒ – ๔๓. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๔). นิทานชาดกฉบับกรมวิชาการ : การศึกษาตามทฤษฎีโครงสร้างนิทานของวลาดิมีร์ พรอพพ์. The New Viridian Journal of Arts, Humanities and Social Sciences. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๕. กันยายน – ตุลาคม ๒๕๖๔. หน้า ๕๓ – ๗๐. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๔). โฟรเซ่น ๒ : การเดินทางของวีรบุรุษจากเทพปกรณัมสู่ภาพยนตร์กับมุมมองทางคติชนวิทยา. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒. กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔. หน้า ๗๒ – ๘๖. |
|
|
อ้างอิง: |
วันเฉลิม สุริยะวงค์ และสุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๓). การศึกษาเรื่องเล่าที่เกี่ยวข้องกับบ่อเกลือพันปีในบ้านบ่อโพธิ์ ตำบลบ่อโพธิ์ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑. มกราคม – มิถุนายน. หน้า ๑๓๗ – ๑๕๐. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ, นารี หวังวก, นุชจิรา สาระถี และสริตา ลีปรีชา. (๒๕๖๓). วิถีชีวิตและบทบาทหน้าที่ที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้านชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง หมู่บ้านห้วยน้ำขาว ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒. กรกฎาคม – ธันวาคม. หน้า ๒๕๑ – ๒๗๐. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๓). บทบาทหน้าที่และอุปกิเลสในนิทานพื้นบ้านภาคเหนือตอนล่าง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ ๓๙ ฉบับที่ ๖. พฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕๖๓. หน้า ๑๑๕ – ๑๒๗. |
|
|
อ้างอิง: |
สุภาภรณ์ สุธรรมรักษ์ และ สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ . (๒๕๖๓). ฆราวาสธรรมที่ปรากฏในใบเซียมซีของวัดในเขตอำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑. มกราคม – มิถุนายน. หน้า ๑๕๔ – ๑๗๙. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ (๒๕๖๑).สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช: แง่คิดจาก "วีรบุรุษในวัฒนธรรมประเพณี". วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑. มกราคม – เมษายน. หน้า ๔๑ – ๕๔. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ และ กิ่งแก้ว อัตถากร. (๒๕๖๐). อาร์คีไทพ์ครูบาอาจารย์ : การศึกษาบทบาทของครูบาอาจารย์ในระบบประเพณีฮินดูในการพัฒนาจิตวิญญาณของศิษย์. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๑. มกราคม – เมษายน. หน้า ๘๓ – ๙๕. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๔๙). การเปลี่ยนแปลงของคำยืมภาษาบาลี-สันสกฤตในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๓. พฤษภาคม – สิงหาคม. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๕๓). การศึกษางานเขียนประเภทบทความในนิตยสารเพื่อสุขภาพ. วารสารวิจัยรำไพพรรณี. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือนมกราคม – เมษายน ๒๕๕๓. หน้า ๔๖ – ๕๒. |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
ธัญญาลักษณ์ สุขเกษม, สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ และคณะ. (๒๕๖๓). คำทำนายเรื่องการล้างโลก : อิทธิพลต่อความคิดของประชาชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ ๖ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๓. วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓. หน้า ๖๐๕ – ๖๑๔. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๒). การสร้างแบบฝึกทักษะการเขียนคำที่ถูกต้องสำหรับนักศึกษารายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ ๕ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๒. วันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒. หน้า ๕๘๕ – ๕๙๕. |
|
|
อ้างอิง: |
มณีรัตน์ เพ็งพาด, สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ และคณะ. (๒๕๖๑). ภาพสะท้อนค่านิยมในบทเพลงของณัฐวุฒิ ศรีหมอก (กอล์ฟ ฟักกลิ้งฮีโร่). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ ๔ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๑. หน้า ๗๐๒ – ๗๑๑. |
|
|
อ้างอิง: |
กุลกันยา สุเมรุไหว, สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ และคณะ. (๒๕๖๑). บทบาทของพิธีศพ : กรณีศึกษาพิธีศพจากตำบล บ้านกล้วย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ ๔ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๑. วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖๑. หน้า ๖๙๒ – ๗๐๑. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ. (๒๕๖๐). อาร์คีไทพ์ครูบาอาจารย์ในระบอบประเพณีฮินดูและพระพุทธศาสนา. เอกสารรวมบทคัดย่อการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ ๖. วันที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๐. หน้า ๒๘๗๕ – ๒๘๘๘. |
|
|
อ้างอิง: |
สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ และ กิ่งแก้ว อัตถากร. (๒๕๕๙). อาร์คีไทพ์ครูบาอาจารย์ : การศึกษาบทบาทของครูบาอาจารย์ในระบอบประเพณีของพระพุทธศาสนาต่อการพัฒนาทางจิตวิญญาณของศิษย์. เอกสารรวมบทคัดย่อการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ ๓. วันที่ ๒๒ ธันวาคม ๒๕๕๙. |
|
-
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
กิจกรรมประชุมเพื่อวิเคราะห์ stakeholders ที่เกี่ยวข้องที่จะนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายของการจัดทำสื่อวีดิทัศน์รายวิชาสังคม1 |
|
|
อ้างอิง: |
กิจกรรมพัฒนาเนื้อหาและสื่อวีดิทัศน์รายวิชาสังคม1 |
|
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
การอบรม การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรสพ#3 |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรม Outcome-Based Education (OBE): In-House Training ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3 (รุ่น มรสพ#3) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ TEAM TEACHING |
|
|
อ้างอิง: |
เขียนอย่างไรไม่ให้ Plagiarism |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติ การเขียนบทความวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เพื่อตีพิมพ์ระดับนานาชาติ Paper Camp |
|
|
อ้างอิง: |
การจรมาของพระโค (พฤษภาคม) : ว่าด้วยเรื่องวัว Facebook ศูนย์สันสกฤตศึกษา เริ่ม 19.00 น. |
|
|
อ้างอิง: |
การเสวนาวิชาการ รูปและรอยพระพุทธบาท : เกร็ดความรู้และข้อสังเกตปัจจุบัน ศูนย์สันสกฤตศึกษา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร |
|
|
อ้างอิง: |
อบรม เรื่อง สงกรานต์ปกรณัม ตำนานและประเพณีของคนไทย-ไท Facebook ศูนย์สันสกฤตศึกษา เริ่ม 19.00 น. |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเรื่องการเขียนรายงานประกันคุณภาพการศึกษา แบบ AUN-QA ครั้งที่ 2 |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเรื่อง “การศึกษาประเพณีพิธีกรรม : ประสบการณ์การเรียนรู้ภาคสนาม” |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเรื่องการเขียนรายงาน
ประกันคุณภาพการศึกษา แบบ
AUN-QA ครั้งที่ 1 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
เทคนิคเขียนตำรา หนังสือและ
บทความวิจัยสำหรับการเสนอขอ
กำหนดตำแหน่งวิชาการ |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|